แนวข้อสอบนายหน้าประกันวินาศภัย หลักการประกันภัย พร้อมเฉลย ออนไลน์

นายหน้าประกันวินาศภัย แนวข้อสอบ หลักการประกันภัย

หนึ่งในวิธีการเตรียมตัวที่ดีที่มีประสิทธิภาพคือการฝึกทำ แนวข้อสอบ นายหน้าประกันวินาศภัย หลักการประกันภัย ซึ่งจะช่วยให้คุณคุ้นเคยกับโครงสร้างข้อสอบและลักษณะคำถาม การฝึกฝนอย่างต่อเนื่องไม่เพียงช่วยให้เข้าใจเนื้อหามากขึ้น แต่ยังช่วยประเมินความพร้อมของตนเองก่อนสอบจริง การสอบผ่านจะเป็นประตูสู่โอกาสใหม่ ๆ เช่น การสร้างรายได้เสริม และพัฒนาเป็นอาชีพเสริมที่มั่นคงได้ในอนาคต

เตรียมตัวสอบอย่างมีประสิทธิภาพกับ แนวข้อสอบนายหน้าประกันวินาศภัย หลักการประกันภัย พร้อมเฉลย ออนไลน์

หลังจากศึกษาทำความเข้าใจเนื้อหาติวสอบนายหน้าประกันวินาศภัยแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือการทดสอบความรู้ผ่านแนวข้อสอบ
• วิธีนี้ช่วยให้เห็นโครงสร้างของข้อสอบ รูปแบบคำถาม และลักษณะคำตอบที่คาดว่าจะพบ
• เป็นการประเมินระดับความพร้อมของตนเอง เมื่อทำแนวข้อสอบครบทุกข้อ ระบบจะแสดงคะแนนและเปอร์เซ็นต์ผลลัพธ์
• ในครั้งแรก คะแนนอาจยังไม่สูง ซึ่งสะท้อนถึงช่องว่างทางความรู้ (Knowledge Gap) หรือประเด็นที่ต้องปรับปรุงเพิ่มเติม
• ควรกลับไปศึกษาเนื้อหาในส่วนที่ตอบผิดและทดสอบใหม่ สามารถทำซ้ำได้หลายรอบจนกว่าจะมั่นใจ
• หากทำคะแนนได้เกิน 90% ถือว่ามีความพร้อมสูงและมีโอกาสสอบผ่านอย่างแน่นอน

คลังข้อสอบ แนวข้อสอบนายหน้าประกันวินาศภัย หลักการประกันภัยพร้อมเฉลย ออนไลน์

 

ผลคะแนน

#1. คำว่า “จำนวนเงินเอาประกันภัย” (Sum Insured) หมายถึง

เฉลยคำตอบที่ถูกต้อง

ถูกทั้งข้อ ข. และข้อ ค.

#2. ผู้มีส่วนได้เสียในทรัพย์สินที่เอาประกันภัยได้ หมายถึง

เฉลยคำตอบที่ถูกต้อง

ถูกทุกข้อ

#3. ส่วนได้เสียที่เอาประกันภัยได้ มีอะไรบ้าง

เฉลยคำตอบที่ถูกต้อง

ถูกทุกข้อ

#4. ข้อใดหมายถึงผู้มีส่วนได้เสียในเหตุที่เอาประกันภัย

เฉลยคำตอบที่ถูกต้อง

ถูกทุกข้อ

#5. ข้อใดไม่ถูกต้องตามหลักการชดใช้ค่าสินไหมทดแทน

เฉลยคำตอบที่ถูกต้อง

ตามจำนวนเงินที่ผู้เอาประกันภัยจะเรียกร้อง

#6. ข้อใดคือหลักการของการประกันภัยที่กำหนดให้ผู้เอาประกันภัยต้องเปิดเผยข้อความจริงโดยสุจริตอย่างยิ่ง

เฉลยคำตอบที่ถูกต้อง

ถูกทั้ง ข้อ ก. และข้อ ค.

#7. คำว่า “ความรับผิดส่วนแรก (Deductible)” หมายถึง

เฉลยคำตอบที่ถูกต้อง

จำนวนเงินค่าสินไหมทดแทนส่วนแรกที่ผู้เอาประกันภัยต้องรับผิดชอบเอง

#8. ตามปกติแล้วผู้รับประกันภัยต้องเชื่อในคำบอกเล่าของผู้เอาประกันภัยว่าผู้เอาประกันภัยจะไม่ชักนำให้หลงเชื่อในเหตุการณ์ที่ไม่จริง ซึ่งจะทำให้การประมาณการเสี่ยงภัยผิดพลาด มิฉะนั้นสัญญานั้นจะ

เฉลยคำตอบที่ถูกต้อง

โมฆียะ

#9. คำว่า “สินไหมกรุณา (Ex-Gratia payment)” หมายถึง

เฉลยคำตอบที่ถูกต้อง

จำนวนเงินที่ผู้รับประกันภัยจ่ายให้แก่ผู้เรียกร้องค่าเสียหาย แม้จะมีความเห็นว่าไม่ต้องรับผิดชอบตามเงื่อนไขกรมธรรม์ประกันภัยก็ตาม

#10. หลักการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามความเสียหายที่แท้จริง หมายความว่า

เฉลยคำตอบที่ถูกต้อง

การชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามความเสียหายที่เกิดขึ้นจริง แต่ไม่เกินจริงจำนวนเงินเอาประกันภัย

#11. คำว่า “ภัย (Peril)” หมายถึง

เฉลยคำตอบที่ถูกต้อง

สาเหตุที่ทำให้เกิดความเสียหาย

#12. หลักการที่ให้สิทธิแก่ผู้รับประกันภัยไปเรียกร้องค่าเสียหายคืนจากผู้ทำละเมิด หมายถึง การใช้สิทธิตามหลักการประกันภัยข้อใด

เฉลยคำตอบที่ถูกต้อง

หลักการรับช่วงสิทธิ์

#13. คำว่า “ภาวะภัยทางศีลธรรม (Moral Hazard)” หมายถึง

เฉลยคำตอบที่ถูกต้อง

การกระทำโดยทุจริตเพื่อหวังเงินค่าสินไหมทดแทน

#14. ข้อใดไม่เกี่ยวกับหลักสุจริตใจอย่างยิ่ง

เฉลยคำตอบที่ถูกต้อง

การไม่แสวงหากำไรจากการประกันภัย

#15. คำว่า “การชดใช้ค่าสินไหมทดแทน (Indemnity)” หมายถึง

เฉลยคำตอบที่ถูกต้อง

การชดใช้ความเสียหายตามที่เสียหายจริง

#16. ข้อใดไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับหลักการร่วมชดใช้ค่าสินไหมทดแทน (Contribution)

เฉลยคำตอบที่ถูกต้อง

ความเสียหายเกิดจากกระทำของบุคคลภายนอก ซึ่งผู้รับประกันภัยได้จ่ายค่าสินไหมทดแทนแล้ว

#17. กรณีใดต่อไปนี้ ผู้รับประกันภัยไม่มีสิทธิรับช่วงสิทธิ์จากผู้เอาประกันภัยหรือผู้รับประโยชน์ตามกฎหมาย

#18. ข้อใดมิใช่เหตุการณ์ที่เป็นการเสี่ยงภัยที่แท้จริง (Pure Risk)

#19. การจัดการเสี่ยงภัยแบบใดที่เป็นความหมายของการประกันภัย

#20. ข้อใดมิใช่หน้าที่ของผู้เอาประกันภัย

#21. หากผู้รับประกันภัยต้องการยกเลิกกรมธรรม์ประกันภัย ผู้รับประกันภัยจะต้องคืนเบี้ยประกันภัยให้แก่ผู้เอาประกันภัย อย่างไ

#22. ข้อใดแสดงได้ว่าผู้เอาประกันภัยมีส่วนได้เสียในเหตุที่เอาประกันภัยของตน

#23. ผู้รับประกันภัยไม่ต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่ผู้เอาประกันภัยหรือผู้รับประโยชน์ในการทำประกันวินาศภัยในกรณีใด

#24. หากทรัพย์สินที่เอาประกันภัยของผู้เอาประกันภัยเปลี่ยนมือไป สิทธิตามสัญญาประกันภัยจะโอนไปด้วยในกรณีใด

#25. ใบคำขอเอาประกันภัย หมายถึง

#26. ผู้เอาประกันภัยสามารถเลือกซื้อกรมธรรม์ประกันภัยอุบัติเหตุได้จากที่ใด

#27. ในกรมธรรม์ประกันภัย ถ้าผู้เอาประกันภัยเป็นผู้บอกเลิกสัญญาประกันภัย บริษัทจะคืนเบี้ยประกันภัยให้ผู้เอาประกันภัย อย่างไร

#28. คำว่า “Principle of Indemnity” หมายถึง

#29. การประกันภัยที่เกิดขึ้นครั้งแรกของโลกคือ

#30. ร้านขายกาแฟของนาย Edward Lloyd ซึ่งเป็นจุดแรกของการกำเนิดการประกันภัยในรูปแบบปัจจุบัน และได้พัฒนาเป็นสถาบันประกันภัยที่มีชื่อเสียงโด่งดังทั่วโลกอยู่ในประเทศ

#31. การประกันภัยเป็นการบริหารการเสี่ยงภัยประเภท

#32. ลักษณะของการเสี่ยงภัยที่จะรับประกันภัยได้ จะต้องมี

#33. การประกันภัยและการพนันมีลักษณะแตกต่างกันทุกประการ แต่มีลักษณะหนึ่งที่เหมือนกันคือ

#34. การเสี่ยงภัยแท้จริง (Pure Risk) ได้แก่

#35. การประกันชีวิตโค กระบือ เป็น

#36. เมื่อสัญญาประกันภัยเกิดขึ้นแล้ว กฎหมายกำหนดให้ผู้รับประกันภัยจะต้องส่งมอบเอกสารใดบ้าง ให้กับผู้เอาประกันภัย

#37. การประกันวินาศภัยในประเทศไทย แบ่งออกเป็นประเภทต่างๆ ได้

#38. นายอำนาจถูกฟ้าผ่าในขณะที่กำลังเดินอยู่กลางทุ่งโล่งขณะฝนตก โดยที่ได้ใส่สร้อยคอทองคำหนัก 2 บาท ออกไปด้วย ตัวภัย (Peril) ในกรณีนี้ ได้แก่

#39. นายอำนาจถูกฟ้าผ่าในขณะที่กำลังเดินอยู่กลางทุ่งโล่งขณะฝนตก โดยที่ได้ใส่สร้อยคอทองคำหนัก 2 บาท ออกไปด้วย โอกาสที่นายอำนาจจะถูกฟ้าผ่าถือเป็น

#40. นายอำนาจถูกฟ้าผ่าในขณะที่กำลังเดินอยู่กลางทุ่งโล่งขณะฝนตก โดยที่ได้ใส่สร้อยคอทองคำหนัก 2 บาท ออกไปด้วย ข้อใดมิใช่สภาวะภัย (Hazard)

#41. ท่านมีความเห็นว่าการเสี่ยงภัย (Risk) ใด ที่มีสภาวะภัย (Hazard) สูงที่สุด

#42. ในธุรกิจประกันภัย การเสี่ยงภัยประเภทใดที่บริษัทประกันภัยจะรับประกันภัยได้

#43. วิธีการใดไม่ถือว่าเป็นการป้องกันการเกิดภัย (Prevention)

#44. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของการประกันภัย

#45. ข้อใดถือเป็นสภาวะภัยทางอุปนิสัย (Morale Hazard)

#46. การเล่นการพนัน ถือเป็นการเสี่ยงภัย (Risk) ประเภทใด

#47. เหตุการณ์ใดที่บริษัทประกันภัยมักกำหนดเป็นข้อยกเว้นไว้ในกรมธรรม์ประกันภัย และจะไม่คุ้มครองความเสียหาย

#48. โรงงานผลิตกระดาษแห่งหนึ่งสร้างด้วยไม้ทั้งหลัง และตั้งอยู่ไม่ห่างจากสถานีบริการน้ำมันมากนัก ในกรณีนี้สภาวะภัย (Hazard) ได้แก่

#49. โรงงานผลิตกระดาษแห่งหนึ่งสร้างด้วยไม้ทั้งหลัง และตั้งอยู่ไม่ห่างจากสถานีบริการน้ำมันมากนัก โอกาสที่โรงงานจะถูกไฟไหม้ถือเป็

#50. นายประสิทธิ์สูบบุหรี่และเผลอหลับไปจนทำให้เกิดไฟไหม้บ้านตนเองและเพื่อนบ้านใกล้เคียง สภาวะภัย (Hazard) เช่นนี้เรียกว่าเป็นสภาวะภัยแบบใด

#51. ข้อใดถือเป็นสภาวะภัยทางศีลธรรม (Moral Hazard)

#52. ผู้รับประกันภัยในประเทศอังกฤษที่มีชื่อเสียงและก่อตั้งมาเป็นเวลานานกว่า 300 ปีแล้วได้แก่

#53. สภาวะภัยทางศีลธรรม (Moral Hazard) และสภาวะภัยทางอุปนิสัย (Morale Hazard) มีความเหมือนกันที่ว่าเป็นภาวการณ์ที่ช่วยส่งเสริมให้เกิดภัยมากขึ้น อันเป็นผลมาจากสภาพจิตใจของบุคคลแต่มีความแตกต่างกัน คือ

#54. ประเภทของการบริหารการเสี่ยงภัย (Risk Management) ได้แก่

#55. การประกันภัยใดเป็นการประกันภัยค้ำจุน

#56. จำนวนเงินที่ผู้เอาประกันภัยจ่ายให้แก่บริษัทประกันภัย เพื่อก่อให้เกิดภาระผูกพันตามสัญญาประกันภัยว่าเมื่อเกิดความเสียหายตามที่ระบุไว้ในกรมธรรม์ประกันภัยแล้วบริษัทประกันภัยจะต้องจ่ายค่าสินไหมทดแทนให้ เรียกว่

#57. ข้อใดถือเป็นการเสี่ยงภัยที่เอาประกันภัยไม่ได้ (Uninsurable Risk) ในการประกันวินาศภัย

#58. ข้อใดไม่ถือเป็นสภาวะทางกายภาพ (Physical Hazard) ที่ส่งเสริมให้เกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สินเพิ่มขึ้น

#59. การที่เจ้าของรถยนต์ที่มีประกันภัยไว้ ขับรถด้วยความคะนองและทำให้เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สินของบุคคลภายนอก โดยที่ขาดความระวังในการป้องกันภัยตามสมควรถือเป็นสภาวะภัย (Hazard) ประเภทใด

#60. ข้อใดไม่ถือเป็นการจัดการการเสี่ยงภัย (Risk Management)

#61. คนที่กลัวจะเสียชีวิตเพราะเครื่องบินตก เลยตัดสินใจไม่เดินทางโดยเครื่องบินตลอดชีวิตถือเป็นการจัดการการเสี่ยงภัยโดยวิธีใด

#62. ผู้รับประกันภัย หมายถึง

#63. ข้อควรปฏิบัติอันดับแรกของผู้ที่ประสงค์จะทำประกันภัย คื

#64. การประกันภัยโจรกรรม ถือเป็นการประกันวินาศภัยประเภทใด

#65. ข้อใดเป็นการประกันภัยที่เกี่ยวข้องกับความรับผิดกฎหมาย (Liability Insurance)

#66. บริษัทประกันภัยจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนโดยใช้หลักเกณฑ์ใด

#67. ลักษณะสำคัญของสัญญาประกันภัย คื

#68. การเอาประกันภัยสูงกว่ามูลค่า (Over Insurance) หมายถึง

#69. ผู้ใดไม่เกี่ยวข้องในสัญญาประกันภัย

#70. ข้อใดที่มิใช่หลักสำคัญพื้นฐานของสัญญาประกันภัย

#71. วิธีการใดถือเป็นการปกป้องการเสี่ยงภัย (Protection)

#72. การเสี่ยงภัย (Risk) ใดในข้อต่อไปนี้ที่ท่านเห็นว่ามีสภาวะภัย (Hazard) ต่ำที่สุด

#73. การเกิดอัคคีภัยถือเป็นการเสี่ยงภัย (Risk) ประเภทใด

#74. นางสาวสมศรีปลูกบ้านซึ่งสร้างด้วยไม้อยู่ในชุมชนซอยราชวิถี 6 และได้เกิดเพลิงไหม้ขึ้นในกรณีเช่นนี้สภาวะภัย (Hazard) คือ

#75. นางสาวสมศรีปลูกบ้านซึ่งสร้างด้วยไม้อยู่ในชุมชนซอยราชวิถี 6 และได้เกิดเพลิงไหม้ขึ้นโอกาสที่จะเกิดเพลิงไหม้ถือเป็น

#76. นางสาวสมศรีปลูกบ้านซึ่งสร้างด้วยไม้อยู่ในซอยราชวิถี 6 และได้เกิดเพลิงไหม้ขึ้นตัวภัย (Peril) คือ

#77. เหตุการณ์ใดที่สามารถหาค่าความเป็นไปได้โดยการอาศัยประสบการณ์หรือ เก็บสถิติข้อมูลที่เกิดขึ้นในอดีต (Empirical Method)

#78. ข้อใดถือได้ว่าเป็นประโยชน์ของการประกันภัย

#79. ข้อใดไม่ใช่การประกันภัยเบ็ดเตล็ด

#80. ลักษณะของการเสี่ยงภัยแบบใดที่บริษัทจะรับประกันภัยได้

#81. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการประกันภัยและการพนัน

#82. ปัจจุบันสำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยใช้กฎหมายใดในการกำกับดูแลธุรกิจประกันวินาศภัย

#83. ข้อใดถือเป็นหลักการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามความเป็นจริง ตามสัญญาประกันวินาศภัย

#84. หากผู้เอาประกันภัยทำประกันภัยกับบริษัทประกันภัยหลายบริษัท เมื่อเกิดความเสียหายขึ้นกับผู้เอาประกันภัย บริษัทผู้รับประกันภัยจะต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทนโดยใช้หลักการใด

#85. ข้อใดมิใช่สาระสำคัญที่ปรากฏในกรมธรรม์ประกันภัย

#86. วัตถุประสงค์สำคัญในการกำหนดให้ผู้เอาประกันภัยต้องรับผิดชอบในความเสียหายส่วนแรก (Excess/Deductible) คือ

#87. การชดใช้ค่าสินไหมทดแทนโดยมีการกำหนด Franchise เอาไว้ คำตอบที่ถูกต้องที่สุดหมายถึง

#88. ข้อใดไม่จัดเป็นหลักฐานเกี่ยวกับการประกันภัย

#89. สาเหตุใกล้ชิด(proximate Cause)หมายถึง

#90. นายเก่งมีบ้านไม้รวมที่ดินราคา 500,000 บาท ทำประกันอัคคีภัยไว้กับบริษัท เอื้ออาทรประกันภัย จำกัด โดยได้ระบุจำนวนเงินเอาประกันภัยไว้ 750,000 บาท จำนวนเงินเอาประกันภัยที่นายเก่งระบุไว้ถือว่า

#91. ข้อใดกล่าวถึงการประกันภัยต่ำกว่ามูลค่าที่แท้จริง (Under Insurance) ไว้อย่างถูกต้องที่สุด

#92. ข้อใดคือความหมายที่แท้จริงของคำว่า “Pure Risk” (การเสี่ยงภัยที่แท้จริง) และ “Speculative Risk” (การเสี่ยงภัยเก็งกำไร)

#93. การประกันภัยและการพนันต่างกันอย่างไร

#94. ข้อใดเป็นภาวะภัยทางกายภาพ (Physical Hazard) ตามกรมธรรม์ประกันอัคคีภัย

#95. ข้อใดเป็นผลที่เกิดจากสภาวะภัยทางศีลธรรม (Moral Hazard)

#96. กรณีใดเป็นสภาวะภัยทางศีลธรรม (Moral Hazard)

#97. ข้อใดไม่ได้จัดอยู่ในความหมายของการเสี่ยงภัย (Risk)

#98. ข้อใดพูดถึงความหมายของคำว่า “สภาวะภัย” (Hazard) ที่ถูกต้อง

#99. การเก็บความเสี่ยงภัยไว้เอง (Retention of Risk) ในการบริหารการเสี่ยงภัย หมายถึง

#100. หน้าที่ของอนุญาโตตุลาการตามสัญญาประะกันภัยคือ

#101. ผู้มีหน้าที่ชำระเบี้ยประกันภัย เรียกว่า

#102. ตัวแทนประกันภัยและนายหน้าประกันภัยต่างกันอย่างไร

#103. ใบคำขอเอาประกันภัย ควรมีรายละเอียดเกี่ยวกับ

#104. ใบสลักหลังกรมธรรม์ประกันภัย (Endorsement) หมายถึง

#105. หนังสือคุ้มครองชั่วคราว (Cover Note) หมายถึง

#106. ภัยใดต่อไปนี้ถือเป็นภัยที่เกิดจากธรรมชาติ (Natural Perils)

#107. ภัยใดต่อไปนี้ที่เกิดจากบุคคล (Human Perils)

#108. ภัยใดต่อไปนี้ที่เกิดจากความเสียหายทางเศรษฐกิจ (Economic Perils หรือ Business Perils)

#109. โดยทั่วไปสัญญาประกันภัยจะสมบูรณ์ตามกฎหมาย ผู้เอาประกันภัยจะต้องมีส่วนได้เสียในเหตุที่เอาประกันภัยในเวลาใด

#110. กรณีใดที่เป็นส่วนได้เสียที่ไม่อาจเอาประกันภัยได้

#111. เมื่อมีการประกันอัคคีภัยต่ำกว่ามูลค่าที่แท้จริงของทรัพย์สิน (Under Insurance) จะมีผลอย่างไร

#112. ข้อใดเป็นเหตุผลและความสำคัญของการมีส่วนได้เสียในเหตุที่เอาประกันภัยที่ถูกต้องที่สุด

#113. การเปิดเผยข้อความจริงจะต้องกระทำเมื่อใด

#114. การเปิดเผยข้อความจริงเป็นหน้าที่ของ

#115. ข้อใดมิใช่หลักฐานสำคัญพื้นฐานของสัญญาประกันภัย

#116. การเปิดเผยข้อความจริง (Disclosure) หมายถึงอะไร และอยู่ภายใต้หลักสำคัญพื้นฐานใดของสัญญาประกันภัย

#117. สาระสำคัญข้อใดมิใช่องค์ประกอบของหลักการร่วมชดใช้ค่าสินไหมทดแทน (Contribution)

#118. หากเกิดวินาศภัยขึ้นกับทรัพย์สินที่ทำประกันภัย การรับช่วงสิทธิ์จะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อวินาศภัยนั้นเกิดจากสาเหตุใดตามตัวอย่างดังต่อไปนี้

#119. หากผู้รับประกันภัยพบว่า ผู้เอาประกันภัยมีเจตนาจะปกปิดข้อความจริงเกี่ยวกับผู้เอาประกันภัยซึ่งเป็นสารถสำคัญนั้น สัญญาประกันภัยจะมีผลเป็นเช่นใด

#120. ในบางกรณีหากวินาศภัยที่เกิดขึ้นนั้นไม่อยู่ในความรับผิดตามสัญญาประกันภัย ซึ่งผู้รับประกันภัยอาจจำเป็นต้องตกลงจ่ายเงินไปจำนวนหนึ่งเพื่อเป็นการปิดการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน ซึ่งมีวิธีการนี้เรียกว่าอะไร

#121. หลักสุจริตใจอย่างยิ่ง (Principle of Utmost Good Faith) เป็นหลักที่ใช้บังคับกับฝ่ายใดต่อไปนี้

#122. องค์ประกอบของหลักสุจริตใจอย่างยิ่ง ได้แก่

#123. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถือว่าเป็นการปกปิดข้อความจริง

#124. การหักค่าเสื่อมขณะคำนวณจำนวนเงินชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเป็นการปฏิบัติตามหลักการใด

#125. หลักการชดใช้ค่าสินไหมทดแทน กำหนดว่าผู้เอาประกันภัยจะได้รับการชดใช้ตามที่ตนเสียหายจริงเท่านั้น ทั้งนี้ด้วยเหตุผลใดต่อไปนี้

#126. ข้อใดคือการจัดการด้านการเสี่ยงภัย

#127. ข้อใดคือความหมายของ “สภาวะภัยทางกายภาพ” (Physical Hazard)

#128. ข้อใดคือความหมายของ “สภาวะภัยทางศีลธรรม (Moral Hazard)

#129. ข้อใดเกี่ยวข้องกับการทำธุรกิจประกันภัย

#130. ที่มาของรายได้ของธุรกิจประกันภัยมาจากแหล่งใดบ้าง

#131. ที่มาของรายจ่ายของธุรกิจประกันภัย ประกอบด้วย

#132. รายจ่ายข้อใดที่เป็นรายจ่ายที่บริษัทประกันภัยไม่สามารถควบคุมได้ล่วงหน้า

#133. สัญญาประกันวินาศภัย หลักการข้อใดที่การประกันชีวิตไม่นำมาใช้

#134. วิธีการจัดการความเสี่ยงภัยแบบใดที่ธุรกิจประกันภัยถือเป็น “Self-Insurance”

#135. หากผู้เอาประกันภัยทำประกันภัยมาแล้วต้องการยกเลิกกรมธรรม์ประกันภัย จะได้รับการคืนเบี้ยประกันภัยจากบริษัทประกันภัยอย่างไร

#136. ข้อใดคือความสำคัญของเอกสารแนบท้าย

#137. ข้อใดคือความสำคัญของใบคำขอเอาประกันภัย

#138. การสลักหลังกรมธรรม์ประกันภัย (Endorsement) หมายถึง

#139. กฎของจำนวนมาก (Law of Large Numbers)

#140. การเอาประกันภัยต่ำกว่ามูลค่า (Under Insurance) หมายถึง

#141. การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน (Claim) หมายถึง

#142. การประกันภัยต่อ (Reinsurance)” หมายถึง

#143. การรับประกันภัยร่วม (Co-Insurance)” หมายถึง

#144. ตารางกรมธรรม์ประกันภัย (Schedule)” หมายถึง

#145. วัตถุประสงค์ของเอกสารแนบท้าย เพื่อ

#146. ความคุ้มครองแบบระบุภัย” (Named Perils)” หมายถึง

#147. ความคุ้มครองแบบ All Risks” หมายถึง

#148. ข้อใดเป็นวัตถุที่สามารถเอาประกันภัยได้

#149. สัญญาประกันภัยที่เป็นโมฆียะ หมายถึงอะไร

#150. ข้อใดเป็นข้อมูลพื้นฐานในการพิจารณากำหนดอัตราเบี้ยประกันภัย

#151. ข้อใดถือเป็นการประกันภัยเบ็ดเตล็ด

#152. การลดความเสี่ยงภัยมีวิธีการใดบ้าง

#153. ถ้ามีเอกสารในสลักหลังกรมธรรม์ประกันภัย (Endorsement) ขัดแย้งกับข้อความข้อใดในกรมธรรม์ประกันภัยจะต้องมีความตามเอกสารใด

#154. ผู้เอาประกันภัยและผู้รับประกันภัยจะตกลงแก้ไข เปลี่ยนแปลง ให้ต้องรับผิดตามสัญญาประกันภัยแม้จะเกิดจากสภาวะส่งเสริมให้เกิดสภาวะทางศีลธรรม (Moral Hazard) ได้หรือไม่

#155. การกระทำโดย “ทุจริต” ของผู้เอาประกันภัยหรือผู้รับประโยชน์ที่ไม่ได้รับความคุ้มครองตามกรมธรรม์ประกันภัย หมายถึง

#156. ผู้เอาประกันภัยต้องสร้างโรงงานเสร็จเรียบร้อย กรมธรรม์ประกันภัยอัคคีภัยจึงจะมีผลบังคับให้ความคุ้มครอง” เป็นเงื่อนไขลักษณะใด

#157. ถ้าผู้เอาประกันภัยโอนทรัพย์สินอันเป็นวัตถุที่อาประกันภัยไปยังบุคคลภายนอกให้ถือว่ากรมธรรม์ประกันภัยฉบับนั้นสิ้นผลบังคับลงทันที” เป็นเงื่อนไขลักษณะใด

#158. เมื่อเกิดความเสียหายขึ้น ผู้เอาประกันภัยต้องแจ้งให้บริษัทประกันภัยทราบโดยไม่ชักช้าและต้องส่งมอบกรมหลักฐานและเอกสารตามที่ระบุในเงื่อนไขกรมธรรม์ประกันภัยเป็นเงื่อนไขลักษณะใด

#159. วิธีเขียนระบุความคุ้มครองไว้ในกรมธรรม์ประกันวินาศภัย มี 2 ลักษณะ ได้แก่

#160. ลักษณะความคุ้มครองของกรมธรรม์ประกันภัยใดใช้การเขียนความคุ้มครองแบบระบุภัย (Named Perils)

#161. บริษัทจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความสูญเสียของเงิน ขณะที่ทำการขนส่งโดยพนักงานรับ-ส่งเงินอันเกิดจากการชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์ หรือความพยายามกระทำการดังกล่าว” เป็นการเขียนความคุ้มครองแบบใด

#162. ภายใต้ข้อบังคับของข้อตกลงคุ้มครอง เงื่อนไขทั่วไป ข้อกำหนด ข้อยกเว้น และเอกสารแนบท้ายแห่งกรมธรรม์ประกันภัยบริษัทประกันภัยให้ความคุ้มครองความสูญหายหรือเสียหายทางกายภาพของทรัพย์สินที่เอาประกันภัยโดยอุบัติใด ๆ ที่มิได้ระบุข้อยกเว้นไว้ในกรมธรรม์ประกันภัย” เป็นการเขียนความคุ้มครองแบบใด

#163. ผู้รับประกันภัยมีสิทธิบอกเลิกสัญญาประกันภัยได้ในกรณีใดบ้าง

#164. หน้าที่พิสูจน์ให้เห็นว่าข้อเท็จจริงที่เกิดวินาศภัยนั้นเนื่องจากทุจริตหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงของผู้เอาประกันภัยหรือผู้รับประโยชน์ เป็นหน้าที่ของฝ่ายใด

#165. เงื่อนไขโดยปริยายในกรมธรรม์ประกันภัยทุกฉบับ ได้แก่

#166. ผู้รับประกันภัยเป็นผู้ออกกรมธรรม์ประกันภัยเอง จึงมีหลักในการตีความของกรมธรรม์ประกันภัยว่า

#167. ผู้รับประกันภัยต้องคืนเบี้ยประกันภัยให้ผู้เอาประกันภัยเมื่อใด

#168. กรมธรรม์ประกันวินาศภัยที่เป็นภาคบังคับ ได้แก่

#169. โดยเชื่อถือถ้อยแถลงเป็นลายลักษณ์อักษรของผู้เอาประกันภัย บริษัทประกันภัยให้สัญญาต่อผู้เอาประกันภัยดังนี้” ข้อความดังกล่าวเกี่ยวข้องกับเอกสารในข้อใด

#170. ข้อใดพูดถึงความหมายของคำว่า “ภัย (Peril)” ที่ถูกต้อง

คำถามก่อนหน้า
เสร็จสิ้น กดดูคะแนน

สรุป

การทำแนวข้อสอบ นายหน้าประกันวินาศภัย หลักการประกันภัย ซ้ำ ๆ เป็นหัวใจสำคัญของการเตรียมตัวสอบ การฝึกฝนช่วยลดข้อผิดพลาด เพิ่มโอกาสสอบผ่าน และเสริมสร้างความมั่นใจ อ่านเพิ่มเติมเกี่ยวกับ “5 ทิปพิชิตบัตรนายหน้าประกันวินาศภัยอย่างได้ผลและประหยัด” ให้ความรู้และประสบการณ์ของเราincome21 ช่วยคุณเพียงแอดLine ID : @653yaxcp

  • income21-wisith
    เกี่ยวกับผู้เขียน

    wisith wisesjindawat

    "เอก" วิสิฎฐ์ ผู้จัดทำเว็บไซด์ INCOME21 นำประสบการณ์ทำงานนายหน้าประกันวินาศภัย และ ประสบการณ์การตลาด การขาย จากบริษัทสินค้าอุปโภคบริโภค FMCG มาถ่ายทอดบอกเล่า

Scroll to Top